วันที่ 5 สิงหาคม 2562 เวลา 09.00 น. ณ ห้องประชุม ภายในมหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี
สมาคมกีฬาฟุตบอลแห่งประเทศไทยฯ จัดการสัมมนา เรื่องการดูแลรักษาสนามกีฬาฟุตบอล ให้กับ สโมสร สมาชิก เพื่อนำความรู้ไปพัฒนาสนามแข่งขัน สำหรับการจัดการแข่งขันให้ได้มาตรฐานมากขึ้น ภายในการประชุม นำโดย พล.ต.อ. ดร. สมยศ พุ่มพันธุ์ม่วง นายกสมาคมฯ พร้อมด้วย เบนจามิน ตัน ที่ปรึกษาและผู้อำนวยการฝ่ายใบอนุญาตสโมสร, มร. จอห์น เลดวิดจ์ หัวหน้าฝ่ายดูแลและพัฒนาสนามกีฬา สโมสร เลสเตอร์ ซิตี้ จากประเทศอังกฤษ, มร. โนบุ ซูซูกิ ผู้เชี่ยวชาญจากสโมสร คาชิมา แอนท์เลอร์, ดร. ไมกาห์ วูดส์ ประธานฝ่ายบริหาร Asian Turf Grass Center, คุณ วลัยรัตน์ พันธุ์หรั่ง ผู้จัดการ บริษัท กอล์ฟ คอร์ส สเปเชี่ยลลิตส์, ผู้บริหาร บริษัท โปรครอป ทีแอนด์โอ และ ตัวแทนจากสโมสรสมาชิก วลัยรัตน์ พันธุ์หรั่ง ผู้จัดการ บริษัท กอล์ฟ คอร์ส สเปเชี่ยลลิตส์ กล่าวถึงความสำคัญในการดูแลพื้นสนามฟุตบอล ว่า การอบรมในครั้งนี้จัดขึ้นเพื่อพัฒนาคุณภาพสนามฟุตบอลทั้งสนามแข่งขัน และสนามซ้อม เนื่องจากสภาพสนามฟุตบอลในประเทศไทยเรา ยังมีความแตกต่างกันค่อนข้างเยอะ บางสโมสรพื้นผิวสนามดีมาก แต่บางส่วนก็ยังต้องปรับปรุงอีกค่อนข้างเยอะ จึงมองว่าอยากให้ผู้ดูแลสนามของทุกๆ สโมสร หรือ ทุกสนามมีความเข้าใจในการดูแลสนามมากขึ้น เพื่อขยับมาตรฐานขึ้นมาอีกหนึ่งระดับ ในระยะหลังจะเห็นได้ว่า สมาพันธ์ฟุตบอลเอเชีย หรือ เอเอฟซี เริ่มเข้ามาให้ความสำคัญในเรื่องนี้ผ่านข้อกำหนดของ Club Licensing (คลับ ไลเซนซิ่ง) มีการเข้ามาตรวจสนามในประเทศไทยค่อนข้างเข้มงวดขึ้น ดังนั้นเราควรมีมาตรฐานที่ใกล้เคียงกัน อาจไม่ถึงในระดับของเจลีก หรือ พรีเมียร์ลีก แต่เราควรควบคุมคุณภาพของสนามได้ การควบคุมขั้นแรกเราต้องรู้ว่าเวลามาตรวจเขาจะดูอะไรบ้าง ไม่ว่าจะเป็นความเรียบของสนาม, ความเร็วของลูกบอลเป็นเรื่องหลักๆ ที่ตอนนี้ประเทศไทยต้องทำ อีกไม่นานคงมีเรื่องของลักษณะการบิดตัวด้วยความเร็วเท่าไร หญ้าถึงจะกระจุยขึ้นมา ซึ่งในเจลีกเองมีการทดสอบตลอดเวลาในเรื่องนี้ รวมถึงในสนามที่มีการจัดการแข่งขันฟุตบอลโลกก็มีการทดสอบเรื่องนี้ด้วย และคงอีกไม่นานที่ทางเอเอฟซีจะเอาเข้ามาตรวจในไทย จึงอยากให้ความรู้กับคนดูแลพื้นสนามว่าควรทำอย่างไร จริงๆ แล้วถ้าเรามีความรู้ก็ไม่จำเป็นต้องใช้จ่ายเยอะ บางคนกลัวเรื่องค่าใช้จ่ายแต่ความจริงถ้าเรารู้หลักเราก็สามารถดูแลสนามให้ดีได้ ด้านของวิทยากรที่มาให้การอบรมในวันนี้เป็นระดับอาจารย์ ท่านแรก มร. จอห์น เลดวิดจ์ หัวหน้าฝ่ายดูแลและพัฒนาสนามกีฬา สโมสร เลสเตอร์ ซิตี้ ทำหน้าที่ในส่วนของการดูแลสนาม ซึ่งเป็นระดับต้นๆ และช่วยโครงการพัฒนาสนามฟุตบอลของพรีเมียร์ลีกด้วย อีกท่าน มร. โนบุ ซูซูกิ ผู้เชี่ยวชาญจากสโมสร คาชิมา แอนท์เลอร์ นอกจากนี้ยังดูแลสนาม เจกรีน ซาไก ซึ่งสนาม คาชิมะ แอนต์เลอส์ เองเป็นสนามที่จะใช้ในการแข่งขันโอลิมปิกในปีหน้า เรื่องของฝีมือถือว่าดีมาก และในช่วงหลังๆ เขาได้เอาหญ้า พลาสพาลั่ม ไปใช้ซึ่งทำให้เขามีความคุ้นเคยกับหญ้าเมืองร้อนมากขึ้น จริงๆ แล้วสนามบอลทุกสนามไม่เฉพาะที่ไทย เรื่องซ่อมแซมสนามหลังการใช้งานเป็นเรื่องสำคัญ ส่วนการให้ปุ๋ยถือว่าเป็นเรื่องรอง การช่วยฟื้นฟูสภาพพื้นผิวสนามต้องทำอย่างไร วันนี้ในช่วงบ่ายของการอบรมจะมีการออกไปดูสนามหญ้าที่ผ่านการใช้งานมา 1 สัปดาห์เต็มโดยที่ไม่ได้พักเลย จะไปดูว่าสภาพเป็นอย่างไร และสิ่งที่ต้องทำคืออะไร การหยอดทรายต้องทำอย่างไร บดอย่างไร พวกนี้คือเรื่องจำเป็นเพื่อให้พื้นสนามเรียบตลอดเวลา เรื่องของปุ๋ยยังไม่เท่าไหร่ เพราะส่วนนั้นเป็นตัวเพิ่มเรื่องของความแข็งแรง ถ้าสมมุติรากหญ้าดีมันก็จะสามารถหาอาหารเองได้ในระดับหนึ่ง ด้าน นายสมเกียรติ์ สิงหเสนี ผู้จัดการสนามเอสซีจี สเตเดี้ยม กล่าวว่า งานสัมมนาวันนี้ถือว่าเป็นประโยชน์อย่างมาก สำหรับผู้ดูแลสนามฟุตบอล เพราะสามารถนำความรู้และเทคนิคต่างๆ ไปใช้สำหรับการดูแลสภาพสนามได้ ทั้ง สนามแข่งขัน และสนามซ้อม เรื่องของการฟื้นฟูสภาพหลังการใช้งาน โดยเฉพาะสนามซ้อมที่ต้องใช้งานหนักมาก เราจะทำอย่างไรให้สนามมีความพร้อมตลอดเวลา นักกีฬาลงแข่งขันหรือฝึกซ้อมแล้วไม่ทำให้เกิดอาการบาดเจ็บจากพื้นสนามที่ไม่เรียบ หรือ แข็งจนเกินไป นุ่มเกินไป ต้องขอบคุณทุกๆ ฝ่ายที่ทำให้เกิดงานในวันนี้ เชื่อว่าข้อมูลเหล่านี้จะเป็นประโยชน์กับทุกๆ ทีมต่อไป
เพิ่มเติม >> https://ablece.com/%e0%b8%97%e0%b8%b2%e0%b8%87%e0%b9%80%e0%b8%82%e0%b9%89%e0%b8%b2%e0%b9%80%e0%b8%a5%e0%b9%88%e0%b8%99ufabet/
สมาคมกีฬาฟุตบอลแห่งประเทศไทยฯ จัดการสัมมนา เรื่องการดูแลรักษาสนามกีฬาฟุตบอล ให้กับ สโมสร สมาชิก เพื่อนำความรู้ไปพัฒนาสนามแข่งขัน สำหรับการจัดการแข่งขันให้ได้มาตรฐานมากขึ้น ภายในการประชุม นำโดย พล.ต.อ. ดร. สมยศ พุ่มพันธุ์ม่วง นายกสมาคมฯ พร้อมด้วย เบนจามิน ตัน ที่ปรึกษาและผู้อำนวยการฝ่ายใบอนุญาตสโมสร, มร. จอห์น เลดวิดจ์ หัวหน้าฝ่ายดูแลและพัฒนาสนามกีฬา สโมสร เลสเตอร์ ซิตี้ จากประเทศอังกฤษ, มร. โนบุ ซูซูกิ ผู้เชี่ยวชาญจากสโมสร คาชิมา แอนท์เลอร์, ดร. ไมกาห์ วูดส์ ประธานฝ่ายบริหาร Asian Turf Grass Center, คุณ วลัยรัตน์ พันธุ์หรั่ง ผู้จัดการ บริษัท กอล์ฟ คอร์ส สเปเชี่ยลลิตส์, ผู้บริหาร บริษัท โปรครอป ทีแอนด์โอ และ ตัวแทนจากสโมสรสมาชิก วลัยรัตน์ พันธุ์หรั่ง ผู้จัดการ บริษัท กอล์ฟ คอร์ส สเปเชี่ยลลิตส์ กล่าวถึงความสำคัญในการดูแลพื้นสนามฟุตบอล ว่า การอบรมในครั้งนี้จัดขึ้นเพื่อพัฒนาคุณภาพสนามฟุตบอลทั้งสนามแข่งขัน และสนามซ้อม เนื่องจากสภาพสนามฟุตบอลในประเทศไทยเรา ยังมีความแตกต่างกันค่อนข้างเยอะ บางสโมสรพื้นผิวสนามดีมาก แต่บางส่วนก็ยังต้องปรับปรุงอีกค่อนข้างเยอะ จึงมองว่าอยากให้ผู้ดูแลสนามของทุกๆ สโมสร หรือ ทุกสนามมีความเข้าใจในการดูแลสนามมากขึ้น เพื่อขยับมาตรฐานขึ้นมาอีกหนึ่งระดับ ในระยะหลังจะเห็นได้ว่า สมาพันธ์ฟุตบอลเอเชีย หรือ เอเอฟซี เริ่มเข้ามาให้ความสำคัญในเรื่องนี้ผ่านข้อกำหนดของ Club Licensing (คลับ ไลเซนซิ่ง) มีการเข้ามาตรวจสนามในประเทศไทยค่อนข้างเข้มงวดขึ้น ดังนั้นเราควรมีมาตรฐานที่ใกล้เคียงกัน อาจไม่ถึงในระดับของเจลีก หรือ พรีเมียร์ลีก แต่เราควรควบคุมคุณภาพของสนามได้ การควบคุมขั้นแรกเราต้องรู้ว่าเวลามาตรวจเขาจะดูอะไรบ้าง ไม่ว่าจะเป็นความเรียบของสนาม, ความเร็วของลูกบอลเป็นเรื่องหลักๆ ที่ตอนนี้ประเทศไทยต้องทำ อีกไม่นานคงมีเรื่องของลักษณะการบิดตัวด้วยความเร็วเท่าไร หญ้าถึงจะกระจุยขึ้นมา ซึ่งในเจลีกเองมีการทดสอบตลอดเวลาในเรื่องนี้ รวมถึงในสนามที่มีการจัดการแข่งขันฟุตบอลโลกก็มีการทดสอบเรื่องนี้ด้วย และคงอีกไม่นานที่ทางเอเอฟซีจะเอาเข้ามาตรวจในไทย จึงอยากให้ความรู้กับคนดูแลพื้นสนามว่าควรทำอย่างไร จริงๆ แล้วถ้าเรามีความรู้ก็ไม่จำเป็นต้องใช้จ่ายเยอะ บางคนกลัวเรื่องค่าใช้จ่ายแต่ความจริงถ้าเรารู้หลักเราก็สามารถดูแลสนามให้ดีได้ ด้านของวิทยากรที่มาให้การอบรมในวันนี้เป็นระดับอาจารย์ ท่านแรก มร. จอห์น เลดวิดจ์ หัวหน้าฝ่ายดูแลและพัฒนาสนามกีฬา สโมสร เลสเตอร์ ซิตี้ ทำหน้าที่ในส่วนของการดูแลสนาม ซึ่งเป็นระดับต้นๆ และช่วยโครงการพัฒนาสนามฟุตบอลของพรีเมียร์ลีกด้วย อีกท่าน มร. โนบุ ซูซูกิ ผู้เชี่ยวชาญจากสโมสร คาชิมา แอนท์เลอร์ นอกจากนี้ยังดูแลสนาม เจกรีน ซาไก ซึ่งสนาม คาชิมะ แอนต์เลอส์ เองเป็นสนามที่จะใช้ในการแข่งขันโอลิมปิกในปีหน้า เรื่องของฝีมือถือว่าดีมาก และในช่วงหลังๆ เขาได้เอาหญ้า พลาสพาลั่ม ไปใช้ซึ่งทำให้เขามีความคุ้นเคยกับหญ้าเมืองร้อนมากขึ้น จริงๆ แล้วสนามบอลทุกสนามไม่เฉพาะที่ไทย เรื่องซ่อมแซมสนามหลังการใช้งานเป็นเรื่องสำคัญ ส่วนการให้ปุ๋ยถือว่าเป็นเรื่องรอง การช่วยฟื้นฟูสภาพพื้นผิวสนามต้องทำอย่างไร วันนี้ในช่วงบ่ายของการอบรมจะมีการออกไปดูสนามหญ้าที่ผ่านการใช้งานมา 1 สัปดาห์เต็มโดยที่ไม่ได้พักเลย จะไปดูว่าสภาพเป็นอย่างไร และสิ่งที่ต้องทำคืออะไร การหยอดทรายต้องทำอย่างไร บดอย่างไร พวกนี้คือเรื่องจำเป็นเพื่อให้พื้นสนามเรียบตลอดเวลา เรื่องของปุ๋ยยังไม่เท่าไหร่ เพราะส่วนนั้นเป็นตัวเพิ่มเรื่องของความแข็งแรง ถ้าสมมุติรากหญ้าดีมันก็จะสามารถหาอาหารเองได้ในระดับหนึ่ง ด้าน นายสมเกียรติ์ สิงหเสนี ผู้จัดการสนามเอสซีจี สเตเดี้ยม กล่าวว่า งานสัมมนาวันนี้ถือว่าเป็นประโยชน์อย่างมาก สำหรับผู้ดูแลสนามฟุตบอล เพราะสามารถนำความรู้และเทคนิคต่างๆ ไปใช้สำหรับการดูแลสภาพสนามได้ ทั้ง สนามแข่งขัน และสนามซ้อม เรื่องของการฟื้นฟูสภาพหลังการใช้งาน โดยเฉพาะสนามซ้อมที่ต้องใช้งานหนักมาก เราจะทำอย่างไรให้สนามมีความพร้อมตลอดเวลา นักกีฬาลงแข่งขันหรือฝึกซ้อมแล้วไม่ทำให้เกิดอาการบาดเจ็บจากพื้นสนามที่ไม่เรียบ หรือ แข็งจนเกินไป นุ่มเกินไป ต้องขอบคุณทุกๆ ฝ่ายที่ทำให้เกิดงานในวันนี้ เชื่อว่าข้อมูลเหล่านี้จะเป็นประโยชน์กับทุกๆ ทีมต่อไป
เพิ่มเติม >> https://ablece.com/%e0%b8%97%e0%b8%b2%e0%b8%87%e0%b9%80%e0%b8%82%e0%b9%89%e0%b8%b2%e0%b9%80%e0%b8%a5%e0%b9%88%e0%b8%99ufabet/
Comments
Post a Comment